วันศุกร์ที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกการเรียนครั้งที่ 5 ประจำวันพฤหัสบดีที่ 25 กันยายน 2557


   บันทึกการเรียน   
  


  ธรรมชาติของเด็กปฐมวัย  
  - สนใจอยากรู้ อยากเห็น
  - ช่างสงสัย ช่างชักถาม
  - มีความคิดสร้างสรรค์


  การสอนภาษาแบบธรรมชาติ เป็นการเรียนภาษาแบบองค์รวม  
  -สอนแบบบูรณาการ /องค์รวม
  -สอนในสิ่งที่เด็กสนใจและมีความหมายสำหรับเด็ก
  -สอดแทรกการฝึกทักษะ การฟัง พูด อ่าน เขียน
  -ไม่เข้มงวดกับการท่อง สะกด



  ร้องเพลงตามภาพที่เห็น  



  หลักการของการสอนภาษาแบบธรรมชาติ  
1. การจัดสภาพแวดล้อม
2. การสื่อสารที่มีความหมาย
3. การเป็นแบบอย่าง
4. การตั้งความคาดหวัง
5. การคาดคะเน
6. การใช้ข้อมูลย้อนกลับ
7. การยอมรับนับถือ
8. การสร้างความรู้สึกเชื่อมั่น


          


  แบ่งกลุ่มทำ My Mapping เรื่องภาษาธรรมชาติ  









  ครูแจกเอกสาร ร้องเพลง 10 เพลง 






  ครูให้แบ่งกลุ่มทำชาตและเลือกเพลงมีประกอบภาพมานำเสนอในสัปดาห์หน้า  
  ตามตัวอย่างดังนี้  




  สิ่งที่ได้รับและสามารถนำไปใช้ได้ในอนาคต  

  หลักและวิธีแนวทางการสอนแบบธรรมชาติ การเรียนรู้ที่แตกต่างกันของเด็กแต่ละคน
  กระบวนการวิธีการต่างๆที่ใช้ สามารถนำไปเป็นหลักการสอนเพื่อประยุกต์ในการประกอบ  วิชาชีพครูต่อไปในอนาคตได้ นอกจากนั้นเพลงยังเป็นสื่อที่สำคัญในการเรียนรู้หลักของเด็ก 




วันศุกร์ที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกการเรียนครั้งที่ 4 ประจำวันพฤหัสบดีที่ 18 กันยายน 2557



บันทึกการเรียน
  


   นำเสนองานในหัวข้อทักษะภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย ฟัง พูด อ่าน เขียน  




1. การฟัง กลุ่ม 101,102






การฟังคือ กระบวนการของการได้ยินแล้วใช้เสมอแปลความหมาย
วัย 2 ขวบ ชอบฟังอะไรที่มันสั้นๆ และเสียงของธรรมชาติ






2.การพูดสำหรับเด็กปฐมวัย กลุ่ม 101 ,102






 เด็กสามารถพูดออกเป็นคำได้ตั้งแต่ 9-10 เดือน และเริ่มเลียนแบบเสียงที่เขาได้ยิน
2-3 ขวบ จะเริ่มรู้คำศัพท์เพิ่มมากขึ้น จาก 50 คำ เป็น 300 คำ
เมื่อ 3 ขวบ สามารถพูดประโยคที่ซับซ้อนขึ้นได้

พัฒนาการทางด้านภาษา
      การรับรู้และการเข้าใจภาษา  การแสดงออกและการพูด

แนวทางการสอนเด็กปัญญาอ่อน
      เวลาสอนควรใช้ภาษาระดับเดียวกัน    ในระยะแรกเริ่มสอนตั้งแต่คำพยางค์เดียวก่อน


อนุบาล 1 ชอบพูดเป็นคำ คำเดียวโดดๆ
อนุบาล 2 พูดเป็นประโยชน์สั้นๆ
อนุบาล 3 ประโยชน์จะสมบูรณ์แบบ เริ่มมีคำวิเศษณ์เข้ามาในการพูด



3. การอ่าน กลุ่ม 101, 102
      







การอ่าน คือ กระบวนการที่ผู้อ่านรับรู้สารซึ่งเป็นความรู้
ความคิด ความรู้สึก และ ความคิดเห็นที่ผู้เขียนถ่ายทอดออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร


        วัยเตาะแตะ (toddler) : 1-3 ปี
- เด็กให้ความสนใจเสียงที่เด็กไม่สามารถพูดได้
- แสดงความสนใจเสียงหรือกลุ่มเสียงที่เหมือนกันเมื่อมีการอ่านกลอน หรือเล่าเรื่องนิทานที่มีคำคล้องจอง
        วัยก่อนเรียนระยะต้น(early preschool) : อายุ 3-4 ปี
- มีความสนใจเสียงต่าง ๆ ของภาษา โดยเฉพาะ "คำคล้องจอง" (rhyme) ที่มีในเพลง
- บอกตัวอักษรได้ 10 ตัว         วัยก่อนเรียนระยะปลาย(late preschool) : อายุ 4-5 ปี - สามารถ แยกพยางค์ในคำที่ฟังได้  - เริ่มแยกหน่วยเสียงย่อย ในคำที่ฟังได้
       วัยอนุบาลตอนต้น(beginning kindergarten) : อายุ 5-5 ½ ปี
- สามารถเปรียบเทียบคำสองคำที่ฟังว่าคล้องจองกันหรือไม่ (เช่น กา-ขา, cat-bat)
- สามารถบอกคำที่มีเสียงคล้องจองกับคำที่ฟังได้
- สามารถบอกตัวอักษรได้เกือบทุกตัว





4. การเขียน กลุ่ม 101, 102





การเขียนของเด็กปฐมวัย
คือ การเขียนถ่ายทอดเรื่องราวความคิดออกมาอย่างมีความหมาย



อวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการเขียน
       - มือ
       - ตา
       - สมองหรือสติปัญญา
กิจกรรมที่ส่งเสริมการเขียน
      - กิจกรรมภายในครอบครัว
      - กิจกรรมจากทางโรงเรียน เช่น กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์



5. อาจารย์สอนร้องทบทวนเพลงเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว



สิ่งที่ได้รับและสามารถนำไปใช้ได้ในอนาคต

ความรู้ที่ได้รับในวันนี้สามารถนำทักษะ การฟัง การพูด การอ่าน การเขียน ไปใช้ประโยชน์ในการประกอบอาชีพได้ต่อไปในอนาคต โดยเฉพาะประกอบในวิชาชีพครู ซึ่งอาชีพครูมีความจำเป็นมากที่จะต้องใช้ทักษะเหล่านี้ในการประกอบการเรียนการสอบต่อไป




วันพฤหัสบดีที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกการเรียนครั้งที่ 3 ประจำวันพฤหัสบดีที่ 11 กันยายน 2557




 
บันทึกการเรียน
 
 
 

 


แนวคิดนักการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาภาษาของเด็กปฐมวัย



 
 
 
1. แนวคิดกลุ่มพฤติกรรมนิยม
          - Skinner สิ่งแวดล้อมเป็นสิ่งที่พัฒนาการของเด็ก (สิ่งเร้า)
          - John B.Watson พฤติกรรมเด็กสามารถสั่งได้

2. แนวคิดกลุ่มพัฒนาทางสติปัญญา
          - Vygotsky เด็กเรียนรู้จากสิ่งแวดล้อมรอบๆตัวของเด็ก
             ผู้ใหญ่มีหน้าที่ชี้แนะ ช่วยเหลือ ส่งเสริม และเป็นกำลังใจให้
          - Piaget เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม

3. แนวคิดเชื่อเรื่องความพร้อมของร่างกาย
          - Arnold Gesell

4. แนวคิดของกลุ่มเชื่อว่าภาษาติดตัวเด็กมาตั้งแต่เกิด
          - Noam Chomsky
          - O. Hobart Miwrer (คิดค้นทฤษฎีเกี่ยวกับความพึงพอใจ)






คุณครูให้ทำกิจกรรมวาดรูปสิ่งที่ตนเองรักมากที่สุด